(Source: 食べログ)
"โฮโท" อาหารท้องถิ่นของจังหวัดยามานาชิ ลักษณะเด่นคือน้ำซุปที่ต้มด้วยมิโสะพร้อมกับผักมากมาย เช่น ฟักทองและมัน ใช้เส้นหนาแบนที่นวดแป้งสาลีด้วยน้ำ โดยโฮโทนั้นเป็นอาหารของจังหวัดยามานาชิที่รับประทานกันตั้งแต่สมัยก่อนและมีรสที่ต่างกันในแต่ละครัวเรือน ซึ่ง "โฮโท" ของร้านโมมิจิเทนั้นใช้มิโสะทำเองที่เคี่ยวนานราว 2 ปี
(Source: 茅ヶ崎のメガネショップ『Basso1-2-1』Blog)
เมนูยอดฮิตของร้าน "โมมิจิเท" คือ "คิโนโกะโฮโท" (1300 เยน) โดยเมนูนี้นั้นใช้เห็ดชิเมจิและเอโนะกิเป็นวัตถุดิบหลัก และปรุงแต่งด้วยรสมิโสะที่กลมกล่อม โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาวนั้นเมนูนี้สามารถอบอุ่นท้องได้เป็นอย่างดี
(Source: 食べログ)
"กิวนิคุโฮโทโกะเซ็น" (1800 เยน) นั้นเป็นเซตที่เต็มอิ่มปริมาณด้วยโฮโทเนื้อวัว ข้าวคะยะคุ เครื่องเคียง 2 อย่าง หากเพิ่มนัมบังมิโสะ (nambanmiso) ที่วางเตรียมบนโตะเพียงเล็กน้อย ก็จะทำให้ "โฮโท" มีรสชาติเผ็ดอร่อยมากขึ้นได้อีกด้วย
(Source: 練馬区の歯医者@じむちょぉ~Blog)
(Source: 食べログ)
"โฮโท" อาหารท้องถิ่นของจังหวัดยามานาชิ ลักษณะเด่นคือน้ำซุปที่ต้มด้วยมิโสะพร้อมกับผักมากมาย เช่น ฟักทองและมัน ใช้เส้นหนาแบนที่นวดแป้งสาลีด้วยน้ำ โดยโฮโทนั้นเป็นอาหารของจังหวัดยามานาชิที่รับประทานกันตั้งแต่สมัยก่อนและมีรสที่ต่างกันในแต่ละครัวเรือน ซึ่ง "โฮโท" ของร้านโมมิจิเทนั้นใช้มิโสะทำเองที่เคี่ยวนานราว 2 ปี
(Source: 茅ヶ崎のメガネショップ『Basso1-2-1』Blog)
เมนูยอดฮิตของร้าน "โมมิจิเท" คือ "คิโนโกะโฮโท" (1300 เยน) โดยเมนูนี้นั้นใช้เห็ดชิเมจิและเอโนะกิเป็นวัตถุดิบหลัก และปรุงแต่งด้วยรสมิโสะที่กลมกล่อม โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาวนั้นเมนูนี้สามารถอบอุ่นท้องได้เป็นอย่างดี
(Source: 食べログ)
"กิวนิคุโฮโทโกะเซ็น" (1800 เยน) นั้นเป็นเซตที่เต็มอิ่มปริมาณด้วยโฮโทเนื้อวัว ข้าวคะยะคุ เครื่องเคียง 2 อย่าง หากเพิ่มนัมบังมิโสะ (nambanmiso) ที่วางเตรียมบนโตะเพียงเล็กน้อย ก็จะทำให้ "โฮโท" มีรสชาติเผ็ดอร่อยมากขึ้นได้อีกด้วย
(Source: 練馬区の歯医者@じむちょぉ~Blog)